วันพุธที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556

มาตราที่เกียวข้องกับการศึกษาไทยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550


มาตราที่เกียวข้องกับการศึกษาไทยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

 มาตราที่ 30 บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกันชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน
การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทามิได้
มาตรการที่รัฐกาหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิและเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น ย่อมไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามวรรคสาม
เกี่ยวข้องกับการศึกษาไทย คือ การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องการศึกษาอบรม จะกระทามิได้
ประเด็นที่เกี่ยวของ การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องการศึกษาอบรม จะกระทามิได้

 มาตราที่ 47 คลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และโทรคมนาคม เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ
ให้มีองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระองค์กรหนึ่งทาหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ตามวรรคหนึ่งและกากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
การดาเนินการตามวรรคสองต้องคานึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชนในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ทั้งในด้านการศึกษา วัฒนธรรม ความมั่นคงของรัฐ ประโยชน์สาธารณะอื่น และการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม รวมทั้งต้องจัดให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมใน
เกี่ยวข้องกับการศึกษาไทย คือ องค์กรของรัฐที่มีหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ต้องคานึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชนในระดับชาติและระดับท้องถิ่นในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมด้วย
ประเด็นที่เกี่ยวของ องคกรของรัฐทั่วมีหนาที่จัดสรรคลื่นความถี่ตองคานึงถึงประโยชนสูงสุดของประชาชนในระดับชาติและระดับทองถิ่นในดานการศึกษาและวัฒนธรรมดวย
ไดรับขอมูลขาวสารที่หลากหลายของประชาชน

 มาตรา 49 บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไมนอยกวาสิบสองปที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจายผูยากไรผูพิการหรือทุพพลภาพ หรือผอยููในสภาวะยากลาบาก ตองไดรับสิทธิตามวรรคหนึ่งและการสนับสนุนจากรัฐเพื่อใหไดรับการศึกษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอื่นการจัดการศึกษาอบรมขององคกรวิชาชีพหรือเอกชน การศึกษทางเลือกของประชาชน การเรียนรูดวยตนเองและการเรียนรูตลอดชีวิต ยอมไดรับความคุมครองและสงเสริมที่เหมาะสมจากรัฐ
ประเด็นที่เกี่ยวของ
 1.ประชาชนไดเรียนฟรี 12 ปี(ป.1-ม.6)
2.การศึกษาทางเลือก การเรียนรูดวยตนเองและตลอดชีวิต ยอมไดรับการคุมครองและสงเสริมจากรัฐ

 มาตรา 50 บุคคลยอมมีเสรีภาพในทางวิชาการการศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพรงานวิจัยตามหลักวิชาการ ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้เทาที่ไมขัดตอหนาที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง บุคคลยอมมีเสรีภาพในการศึกษาอบรมการเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพรงานวิจัยตามหลักวิชาการ

 มาตรา 52 เด็กและเยาวชน มีสิทธิในการอยูรอดและไดรับการพัฒนาดานรางกาย จิตใจและสติปญญา ตามศักยภาพในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม โดยคานึงถึงการมีสวนรวมของเด็กและเยาวชนเปนสาคัญเด็ก เยาวชน สตรีและบุคคลในครอบครัว มีสิทธิไดรับความคุมครองจากรัฐใหปราศจากการใชความรุนแรงและการปฏิบัติอันไมเปนธรรม ทั้งมีสิทธิไดรับการบาบัดฟนฟู
ในกรณีที่มีเหตุดังกลาวการแทรกแซงและการจากัดสิทธิของเด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัวจะกระทามิไดเวนแตโดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื่อสงวนและรักษาไวซึ่งสถานะของครอบครัวหรือประโยชนสูงสุดของบุคคลนั้นเด็กและเยาวชนซึ่งไมมีผูดูแลมีสิทธิไดรับการเลี้ยงดูและการศึกษาอบรมที่เหมาะสมจากรัฐ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง เด็กและเยาวชนซึ่งไมมีผูดูแลมีสิทธิไดรับการเลี้ยงดูและการศึกษาอบรมที่เหมาะสมจากรัฐ

วันพฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2556

การจัดการศึกษาอย่างสร้างสรรค์ (Creative Education)




 การจัดการศึกษาอย่างสร้างสรรค์

(Creative Education)

               การจัดการศึกษาอย่างสร้างสรรค์ (Creative Education) คืออะไร มีความสำคัญอย่างไรต่อสังคมไทย

 การจัดการศึกษาอย่างสร้างสรรค์ คือ กระบวนการคิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดได้หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม โดยสามารถนำไปประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่างรอบคอบและมีความถูกต้อง จนนำไปสู่การคิดค้นและสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่หรือรูปแบบความคิดใหม่ นอกจากลักษณะการคิดสร้างสรรค์ดังกล่าวนี้แล้ว ยังมีสามารถมองความคิดสร้างสรรค์ในหลาย ซึ่งอาจจะมองในแง่ที่เป็นกระบวนการคิดมากกว่าเนื้อหาการคิด โดยที่สามารถใช้ลักษณะการคิดสร้างสรรค์ในมิติที่กว้างขึ้น เช่นการมีความคิดสร้างสรรค์ในการทำงาน การเรียน หรือกิจกรรมที่ต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ด้วย อย่างเช่น การทดลองทางวิทยาศาสตร์  หรือการเล่นกีฬาที่ต้องสร้างสรรค์รูปแบบเกมให้หลากหลายไม่ซ้ำแบบเดิม เพื่อไม่ให้คู่ต่อสู่รู้ทัน

  มีความสำคัญคือ การจัดการศึกษาอย่างสร้างสรรค์เป็นทางเลือกในการจัดการศึกษาของระบบการศึกษาไทย โดยมีแนวคิดบนพื้นฐานของการมองไปสู่เป้าหมายคุณภาพของคนในสังคมไทยที่ควรจะ เป็น โดยผ่านปัญหาเชิงโครงสร้างของสังคมไทย ทั้งนี้ ปัญหาต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก การจะแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้นั้น ต้องมองจากภาพรวม ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ผูกพันกันอย่างลึกซึ้ง จากนั้นก็มองหาสาเหตุของปัญหาที่แท้จริงและแก้ทั้งระบบ

ภาพการศึกษาในทัศนะความคิดของผม

การศึกษาเปรียบเสมือนหัวใจในร่างกายมนุษย์